วันอังคารที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2555

เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน


เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน
เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (อังกฤษ: ASEAN University Network; AUN) เป็นความร่วมมือของสถาบันอุดมศึกษาระหว่างประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน ก่อตั้งขึ้นเมื่อพฤศจิกายน ค.ศ. 1995 รวม 13 สถาบัน ต่อมาได้ขยายความร่วมมือระหว่างอาเซียนเพิ่มมากขึ้นทำให้สมาชิกของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนเพิ่มจำนวนเป็น 26 สถาบัน
ประเทศ
สถาบันอุดมศึกษา
ที่ตั้ง
·         มหาวิทยาลัยภูมินทร์พนมเปญ (Royal University of Phnom Penh)
·         พนมเปญ
·         พนมเปญ
·         เชียงใหม่
·         ชลบุรี
·         นครปฐม
·         ย่างกุ้ง
·         ย่างกุ้ง
·         Quezon City
·         มะนิลา
·         Quezon City
·         Serdang, สลังงอร์
·         Gelugor, ปีนัง
·         Bangi, สลังงอร์
·         มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว (National University of Laos)
·         ฮานอย
·         สิงคโปร์
·         สิงคโปร์
·         สิงคโปร์
·         จาการ์ตา
·         บันดุง
·         ซูราบายา
องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (สปอ. หรือ ซีโต้) (อังกฤษ: Southeast Asia Treaty Organization - SEATO) เป็นองค์การที่ก่อตั้งขึ้นตาม สนธิสัญญามะนิลา ลงนามเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2497 ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498 ในช่วงสงครามเย็น โดย 8 ประเทศ คือ:
·         ประเทศไทย
ในภาคอารัมภบทของสัญญานี้ บรรดาประเทศสมาชิกต่างแสดงความปรารถนาที่จะประสานความพยายามของตนที่จะป้องกันร่วมกัน เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคง โดยเฉพาะข้อ 4 ของสนธิสัญญาเป็นข้อสำคัญที่สุด คือ แต่ละประเทศภาคีคู่สัญญาตกลงเห็นพ้องกันว่า หากดินแดนของประเทศใดถูกรุกรานจาการโจมตีด้วยกำลังอาวุธ ประเทศภาคีทั้งหมดที่เหลือจะถือว่าเป็นอันตรายร่วมกัน และจะปฏิบัติการเพื่อเผชิญหน้ากับอันตรายร่วมกัน หรือถ้าหากพื้นที่ภายในเขตครอบคลุมของสนธิสัญญาถูกคุกคามด้วยประการใด ๆ ประเทศภาคีทั้งหมดจะปรึกษากันในทันที เพื่อตกลงในมาตรการเพื่อการป้องกันร่วมกัน
อย่างไรก็ตาม ซีโต้ประสบความล้มเหลวในการเข้าแทรกแซงความขัดแย้งในประเทศลาวและเวียดนาม เนื่องจากการตัดสินใจนั้นต้องการมติเอกฉันท์ แต่ฝรั่งเศสและฟิลิปปินส์นั้นไม่เห็นด้วย.
สำนักงานใหญ่ขององค์การเคยตั้งอยู่ที่กรุงเทพมหานคร มีนายพจน์ สารสิน จากประเทศไทย ดำรงตำแหน่งเลขาธิการทั่วไป ซึ่งเป็นตำแหน่งผู้นำอย่างเป็นทางการขององค์การ ตั้งแต่
พ.ศ. 2500 ถึง 2507 ปัจจุบันนี้บริเวณที่เคยเป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ขององค์การ ที่ถนนศรีอยุธยา ได้กลายเป็นที่ตั้งของ กระทรวงการต่างประเทศของประเทศไทย
ซีโต้ยุบเลิกอย่างเป็นทางการเมื่อ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2520 [1]เนื่องจากสถานการณ์ทางการเมืองของโลกได้เปลี่ยนไปมาก สหรัฐอเมริกาถอนกำลังทหารออกจาก เวียดนามใต้ และรัฐบาลที่อเมริกาสนับสนุนประสบความพ่ายแพ้ทั้งในเวียดนาม ลาว และกัมพูชา และทำให้องค์การซีโต้หมดความจำเป็นในฐานะเครื่องมือในการดำเนินนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาในภูมิภาคนี้
มรดกของซีโต้ในประเทศไทยคงเหลือเพียงอาคารสำนักงานใหญ่ ซึ่งรัฐบาลไทยได้ใช้เป็นที่ทำการส่วนหนึ่งของกระทรวงการต่างประเทศไทยอยู่หลายปี ต่อมาถูกรื้อถอนลงและมีการสร้างอาคารที่ทำการแห่งใหม่ของกระทรวงการต่างประเทศ (หลังปัจจุบัน)ในพื้นที่เดิม กับโรงเรียนวิศวกรรม สปอ. ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนรูปมาเป็นสถาบันวิชาการอิสระ เรียกว่าสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย หรือ AIT ในปัจจุบันนี้

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น